กรรมวิธีการผลิตไฮโดรเจนแบบต่อเนื่องจากเศษเหลือทะลายปาล์มน้ำมันโดยใช้แบคทีเรียสังเคราะห์แสง Rhodobacter sphaeroides S10 ในถังปฏิกรณ์ชีวภาพชนิดท่อแบบแสงส่องผ่าน

เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่พร้อมถ่ายทอด

กรรมวิธีการผลิตไฮโดรเจนแบบต่อเนื่องจากเศษเหลือทะลายปาล์มน้ำมันโดยใช้แบคทีเรียสังเคราะห์แสง Rhodobacter sphaeroides S10 ในถังปฏิกรณ์ชีวภาพชนิดท่อแบบแสงส่องผ่าน

ที่มาและความสำคัญ

ปาล์มน้ำมันเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของภาคใต้ ในอุตสาหกรรมสกัดน้ำมันปาล์ม มีเศษเหลือทะลายปาล์มประมาณร้อยละ 25 ปัจจุบันนำมาใช้เป็นวัตถุดิบผลิตปุ๋ยหมัก หรือเป็นวัตถุดิบเพาะเลี้ยง

เทคโนโลยี

 นำเศษเหลือทะลายปาล์มมาย่อยให้ได้น้ำตาล จากนั้นใช้เทคนิคทางเทคโนโลยีชีวภาพเปลี่ยนน้ำตาลเป็นแก๊สไฮโดรเจน

ชื่อนักวิจัย / สำนักวิชา

ชื่อนักวิจัย ศ.ดร.วรรณา ชูฤทธิ์
สำนักวิชา รองอธิการบดี

ประเภททรัพย์สินทางปัญญา

อนุสิทธิบัตร
เลขที่คำขอ 1803000583

ข้อดี / จุดเด่น

  1. ไฮโดรเจนและคาร์บอนไดออกไซด์เป็นแก๊สที่ถูกผลิตขึ้นด้วยเทคโนโลยีนี้
  2. เมื่อกระบวนการผลิตสิ้นสุดมีผลผลิตแก๊สไฮโดรเจนร้อยละ 75
  3. การเผาไหม้แก๊สไฮโดรเจนให้พลังงานสูง
  4. ไม่เกิดแก๊สก่อมลภาวะ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ หลังการเผาไหม้

ขอบคุณรูปภาพจากเว็บไซต์ https://www.freepik.com/

Scroll to Top