เป็นกิจกรรมประกวดโมเดลธุรกิจสตาร์ทอัพ (startup business model) สำหรับนักศึกษาทุกระดับทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก เพื่อขอทุนสนับสนุนในการพัฒนา Prototype จำนวนเงิน 50,000 บาท โดยได้รับสนับสนุนงบประมาณจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

Timeline
Portfolio 2020
National level
1
TEAM Mora Bright Mora Bright
การสังเคราะห์เม็ดสีเมลานินอันเป็นสาเหตุของรอยฝ้า สารสกัดธรรมชาติเป็นสารออกฤทธิ์ชีวภาพ (bioacitve compound) ซึ่งมีความสำคัญต่อการลดกระบวนการอักเสบ ต้านอนุมูลอิสระ รวมถึงสามารถยับยั้งการสังเคราะห์เม็ดสีเมลานินได้ สารสกัดธรรมชาติ 2 ชนิด คือ สารสกัดมังคุด และสารสกัดส้มแขก ซึ่งเป็นพืชที่พบมากที่สุดในเอเชียโดยเฉพาะประเทศไทย จากการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดธรรมชาติเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เสริมความงาม
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. นายพิทักษ์สิทธิ์ ทรัพย์เจริญ
2. นางสาวพัชราภรณ์ พรมลัทธิ์
3. นางสาวอาทิตยา เพชรรัตน์
4. นายอิทธิ คงแก้ว
หลักสูตร เทคนิคการแพทย์



2
TEAM KID-D KID-D
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. นายอัฟวัน นิเด็ง
2. นายฟะฟ์มี เปาะสา
3. นางสาวฮานาดียะห์ มูซอ
4. นางสาวฮุสนา มะดอรอแม
หลักสูตร เทคนิคการแพทย์
5. นางสาวอินทิราโซ๊ะประสิทธิ์
หลักสูตร ศิลปศาสตร์ภาษาอังกฤษ




3
TEAM Remind Remind
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. นางสาวสุพัตรา ชูยัง
หลักสูตร วิศวกรรมไฟฟ้า




4
TEAM Hive it Hive it
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. MR. Sean Glenn Pastorfide
2. Miss Chelsea Yimaye
หลักสูตร บริหารธุรกิจ
3. Miss Tashi Wangmo
หลักสูตร นิติศาสตร์



Portfolio 2019
1
TEAM Errund Errund
แอพพลิเคชั่นสำหรับผู้ที่ต้องการทำธุระ หรือต้องการทำบางอย่างแต่ไม่สามารถทำได้ ผู้ใช้สามารถโพสต์และส่งผู้อื่นไปทำธุระแทนได้ ผู้คนในบริเวณใกล้เคียงที่พร้อมใช้งานจะสามารถเห็นโพสต์และตอบสนองต่อบุคคลที่ต้องการทำงานได้
อาจารย์ที่ปรึกษา: Aj. Suchita Manajit
สำนักวิชา International College
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. Sean Glenn Pastorfide
2. Chelsea Yimaye
3. Tashi Wangmo
สำนักวิชา International College



2
TEAM PL_Config PL_Config
PL Config เพื่อแก้ไขปัญหาสัญญาณรบกวนให้ลดลงในการส่งสัญญาณโทรศัพท์จากผู้ใช้กับเสารับ-ส่ง สัญญาณ ซึ่งจะทำให้สัญญาณมีประสิทธิภาพมากขึ้น และสร้างระบบการควบคุมพลังงานในการส่งโดยบริษัทเรา PL.ENERGY-SAVING เป็นคนดูแลควบคุมร่วมกับพนักงานของเหล่าบริษัทเครือข่าย เพื่อลดการส่งพลังงานของเสาส่งสัญญาณ หรือค่าไฟฟ้านั้นเอง
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.อจลวิชญ์ ฉันทวีโรจน์
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. วชิรดล เพิ่มคำ
2. จตุพร เพชรอยู่
3. รฐนนท์ บัวขาว
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
4. วิศรุต ทองสิริ
สำนักวิชา นิเทศศาสตร์


3
TEAM AMRA AMRA
ชุดทดสอบโดยใช้หลักการ Direct agglutination ซึ่งเป็นหลักการการทำปฏิกิริยาของแอนติเจนที่เกาะอยู่บน particle ใดๆ กับแอนติบอดีในเลือดผู้ป่วยที่สร้างเมื่อมีการติดเชื้อ อ่านผลโดยการสังเกตการณ์เกาะกลุ่มด้วยตาเปล่า ไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษ การผลิตเริ่มด้วยการใช้เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม เช่นเดียวกับชุดตรวจ LFT โดยเชื้อ E.coli ที่สร้างโปรตีนของเชื้อเมลิออยด์มาไว้บนผิวเซลล์
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร. วิยดา กวานเหียน
สำนักวิชา สหเวชศาสตร์
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. กวินญ์ศยา ภูกันหา
2. กนกนาถ ลั่นทอง
3. อภิสรา ลิ้มภิกุล
สำนักวิชา สหเวชศาสตร์


4
TEAM C-Cash C-Cash
เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและสถาบันการเงินชุมชนโดยเฉพาะ โดยเน้นรูปแบบการใช้งานที่ง่าย รองรับฟังก์ชันการทำงานทุกด้านของกองทุน การฝาก ถอน โอน หรือกู้เงิน มีอุปกรณ์ต่อพ่วงที่ช่วยอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบเพื่อลดการผิดพลาดของข้อมูล
อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์กรกต สุวรรณรัตน์
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. พิทักษ์สิทธิ์ ทรัพย์เจริญ
สำนักวิชา สหเวชศาสตร์
2. นูรีดา บูเกะมาตี
3. กิตติภพ สมพืช
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี


Regional level

อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร.มณฑล เลิศคณาวนิชกุล
สำนักวิชา สหเวชศาสตร์
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. ถากูร เชาว์ภาษี
สำนักวิชา สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ
2. อัฟวัน นิเด็ง
3. ฮุสนา มะดอรอแม
4. ฮานาดียะห์ มูซอ
5. ฟะห์มี เปาะสา
สำนักวิชา สหเวชศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษา: รองศาสตราจารย์ ดร.วัฒนพงศ์ เกิดทองมี
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. ระพีพัฒน์ ชุนเซียง
2. เกศกมล นิลมานนท์
3. สุมิตา ชูฤทธิ์
4. ธิดารัตน์ จันทรโชติ
5. แพรผกา ปานยืน
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ที่ปรึกษา: Aj. Suchita Manajit
สำนักวิชา International College
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. Sean Glenn Pastorfide
2. Chelsea Yimaye
3. Tashi Wangmo
สำนักวิชา International College
อาจารย์ที่ปรึกษา วัฒนพงศ์ เกิดทองมี
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. ณรงค์ พรมนุช
2. ศศิพงศ์ พรมทอง
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์กรกต สุวรรณรัตน์
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. พิทักษ์สิทธิ์ ทรัพย์เจริญ
สำนักวิชา สหเวชศาสตร์
2. กิตติภพ สมพืช
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.เพ็ญโฉม จันทร์หวาน
สำนักวิชา สหเวชศาสตร์
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. กฤษดา อยู่บุรี
2. ขวัญฤดี ทิพเนตร
3. เพชรรัตน์ มุ่งมาตร
สำนักวิชา สหเวชศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษา: ผศ.ดร.ชัยรัตน์ นามสกุล ศิริพัธนะ
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. ลัดดาวรรณ น้อยหนู
2. มัทณียา ทรัพย์สำเริง
3. ศักรินทร์ วัฒนสิทธิ์
4. ธรรมธัช บุญกำเหนิด
5. มะลิสา จันทร์เพชร
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร. วิยดา กวานเหียน
สำนักวิชา สหเวชศาสตร์
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. กวินญ์ศยา ภูกันหา
2. กนกนาถ ลั่นทอง
3. อภิสรา ลิ้มภิกุล
สำนักวิชา สหเวชศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.อจลวิชญ์ ฉันทวีโรจน์
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
<b รายชื่อสมาชิกในทีม
1. วชิรดล เพิ่มคำ
2. จตุพร เพชรอยู่
3. รฐนนท์ บัวขาว
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
4. วิศรุต ทองสิริ
สำนักวิชา นิเทศศาสตร์
อาจารย์ที่ปรึกษา : ชื่อ ดร.อรรถโส นามสกุล ขำวิจิตร
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
รายชื่อสมาชิกในทีม
1. ธวัชชัย บัวทิพย์
2. เอกชัย บัวทิพย์
3. ณรงค์ หุ้ยหลี
สำนักวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
Startup Thailand League 2019
นักศึกษาจากวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้รับเลือกจากอุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.วลัยลักษณ์ ให้เป็น 1 ใน 10 ทีมตัวแทนจากมหาวิทยาลัย เข้าร่วมการแข่งขัน Startup Thailand League 2019 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์…


GALLERY GALLERY
บรรยากาศการแข่งขัน Startup thailand League 2019 ระดับภูมิภาค โดยจัดการแข่งขันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เมื่อวันที่ 20-21 เมษายน 2019 อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ส่งทีมนักศึกษาสตาร์ทอัพของ ม.วลัยลักษณ์ จำนวน 10 ทีม เข้าร่วมการแข่งขันStartup Thailand League 2019 โดยมีทีมผู้สมัครเข้าร่วมแข่งขันจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วประเทศทั้งสิ้น 68 ทีม มีทีมผ่านการคัดเลือกทั้งหมด 18 ทีม ผลปรากฏว่า ทีมสตาร์ทอัพ จาก ม.วลัยลักษณ์ จำนวน 4 ทีม ผ่านการคัดเลือกเพื่อไป Demo Day ที่กรุงเทพมหานคร