โปรแกรมสำหรับนักศึกษา นักวิจัย และสตาร์ทอัพ
ประเภทธุรกิจ
ธุรกิจสุขภาพและอุปกรณ์ทางการแพทย์
ธุรกิจเทคโนโลยีดิจิตอล
ธุรกิจการเกษตรและการแปรรูปทางการเกษตร
ธุรกิจหัตถกรรมและของประดับตกแต่ง
ธุรกิจบริการ
ผู้ประกอบการที่ผ่านการคัดเลือกเข้าสู่โปรแกรมบ่มเพาะวิสาหกิจ
ปี พ.ศ. 2564 - 2565
- งานวิจัย/เทคโนโลยี
1. กระบวนการผลิตและการเก็บรักษามังคุดคัดในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
2. กระบวนการผลิตและการเก็บรักษาส้มโอทับทีมสยามในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (อยู่ในขั้นตอนวิจัย) - นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ
ผศ.ดร.สุปราณี มนูรักษ์ชินากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
นางสาวฝนทิพย์ หนูอุดม อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มวล - กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
ได้รับการสนับสนุนพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยกระบวนการ Proof of Technology จากงานวิจัยของมหาวิทยาลัย
ได้รับการสนับสนุนเข้ารับการฝึกอบรมในโครงการผัดไทยจาก Food Innopolis
ได้รับการสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีและการเงิน
ได้รับการสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญด้านมาตรฐานการผลิต - รายงานผลการดำเนินงาน
ครั้งที่ 1 รอบ 6 เดือน | 16 สิงหาคม 2564 - รายละเอียดผลิตภัณฑ์
- งานวิจัย/เทคโนโลยี การคัดเลือกเชื้อรา Trichoderma spp. เพื่อใช้ในการควบคุมโรคใบร่วงของยางพาราที่เกิดจาก
เชื้อรา Phytophthora spp. และโรครากขาวที่เกิดจากเชื้อรา Rigidoporus microporus. - นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ รศ.ดร.วาริน อินทนา สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร มวล.
- กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
ได้รับการสนับสนุนพัฒนาห้องจัดเก็บผลิตภัณฑ์พร้อมจำหน่ายและพื้นที่สำนักงาน
ได้รับการสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญบัญชีและการเงิน
ได้รับการสนับสนุนงบประมาณด้านพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ - รายงานผลการดำเนินงาน
ครั้งที่ 1 รอบ 6 เดือน | 16 สิงหาคม 2564
- งานวิจัย/เทคโนโลยี A new approach for data intensive collaboration using Scalable Resolution Shared Displays
- นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ รศ.ดร. กฤษณะเดช เจริญสุธาสินี ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนิเวศวิทยาพยากรณ์และการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
- รายงานผลการดำเนินงาน
ครั้งที่ 1 รอบ 6 เดือน | 16 สิงหาคม 2564 - รายละเอียดผลิตภัณฑ์
- งานวิจัย/เทคโนโลยี นาโนอิมัลชันโลชันบำรุงผิวของสารสกัดจากนำมันรำข้าวและทานาคา
- นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ รศ.ดร.จิตบรรจง ตั้งปอง สำนักวิชาสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
- รายงานผลการดำเนินงาน
ครั้งที่ 1 รอบ 6 เดือน | 16 สิงหาคม 2564 - รายละเอียดผลิตภัณฑ์
- งานวิจัย/เทคโนโลยี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไส้เบอร์เกอร์เนื้อจากพืช (plant base meat)
- นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ รศ.ดร. มนัส ชัยจันทร์ สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
- รายงานผลการดำเนินงาน
ครั้งที่ 1 รอบ 6 เดือน | 16 สิงหาคม 2564 - รายละเอียดผลิตภัณฑ์
ผู้ประกอบการอยู่ในขั้นตอนเตรียมความพร้อมเสนอเข้าสู่โปรแกรมบ่มเพาะวิสาหกิจ รอบคัดเลือก ปี พ.ศ. 2564
- นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ รศ.ดร.วัฒนพงศ์ เกิดทองมี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
- กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
- รายงานผลการดำเนินงาน
- นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ รศ.ดร.สุวิทย์ วุฒิสุทธิเมธาวี สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร
- กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
- รายงานผลการดำเนินงาน
- นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ รศ.ดร.พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์
- กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
- รายงานผลการดำเนินงาน
- นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ นางสาวฝนทิพย์ หนูอุดม อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
- รายงานผลการดำเนินงาน
- นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ ผศ.ดร.อจลวิชญ์ ฉันทวีโรจน์
- กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
- รายงานผลการดำเนินงาน
- นักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ ผศ.ดร.วิยดา กวานเหียน สำนักวิชาสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผู้ประกอบการและพัฒนาผลิตภัณฑ์
- รายงานผลการดำเนินงาน
ระยะเวลาโครงการ การติดตามและประเมินผล
ระยะเวลา 24 เดือน ติดตามผลในทุกๆ 6 เดือน โดยมีรายละเอียดดังนี้
คณะกรรมการติดตาม
ประเมินผลการปฏิบัติงานหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ (UBI)

ประธานกรรมการ
คุณจิระพันธุ์ เนื่องจากนิล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ประธานคณะทำงานเครือข่ายเชิงประเด็น C-UBI ภาคกลางตอนล่าง

กรรมการ
นางวนิดา บุญนาคค้า
ผู้อำนวยการกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ผู้แทนสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.)

กรรมการ
คุณพงษ์ศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ
เลขาธิการสภาธุรกิจไทย-รัสเซีย
ผู้แทนคณะกรรมการส่งเสริมการบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา

กรรมการ
นายไพโรจน์ ภู่ต้อง
กรรมการผู้จัดการ ห้างหุ้นส่วนจำกัด แสงอรุณปาล์มออย
ผู้แทนจากภาคธุรกิจเอกชน

กรรมการ
นายวัฒนา แก้วประจุ
ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนา SME ภาคใต้ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ผู้แทนจากภาคธุรกิจเอกชน

กรรมการ
นายอัษฎาวุธ แสงนภาเพ็ญ
กรรมการผู้จัดการ บริษัท มัสเตอร์ โปร คอนซัลแท็นซ์ จำกัด
ผู้ทรงคุณวุฒิ

เลขานุการ
ผศ.ดร.อนุรักษ์ ถุงทอง
ผู้อำนวยการ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประธานคณะทำงานเครือข่ายเชิงประเด็น C-UBI ภาคใต้ตอนบน
สนใจเข้าร่วมโครงการบ่มเพาะวิสาหกิจ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
เป็นนักศึกษา หรือ ศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- มีความมุ่งมั่นในการเป็นผู้ประกอบการ
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก หรือ จบการศึกษาแล้วไม่เกิน 5 ปี
- มีผลิตภัณฑ์ต้นแบบ และ มีความพร้อมนำผลิตภัณฑ์ทดสอบตลาด
- มีความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรมกับทางหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ
- มีความพร้อมในการลงทุน
เป็นนักวิจัย หรือ บุคลากร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
- มีความมุ่งมั่นในการเป็นผู้ประกอบการ
- มีผลิตภัณฑ์ต้นแบบ และ มีความพร้อมนำผลิตภัณฑ์ทดสอบตลาด
- มีความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรมกับทางหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ
- มีความพร้อมในการลงทุน
เป็นบุคคลทั่วไป
- มีความมุ่งมั่นในการเป็นผู้ประกอบการ
- เป็นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคลที่จดทะเบียนแล้วไม่เกิน 2 ปี
- มีผลิตภัณฑ์ต้นแบบ และ มีความพร้อมนำผลิตภัณฑ์ทดสอบตลาด
- มีความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรมกับทางหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ
- มีความพร้อมในการลงทุน
สมัครเข้าร่วมโครงการได้ที่นี่

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
คุณธีติมา ฉ้วนเจริญ (น้ำ)
0 7567 3578
theetima.ng@wu.ac.th